วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Learning Log in class
Week 1

Language learning = conscious
Language acquisition = subconscious
เกิดจากการเรียนโดยอัตโนมัติ คือ จิตใต้สำนึก ตัวอย่างเช่น
  • I play football.
  • He plays football.

ในการพูดสองประโยคนี้ เด็กไทยจะมีความกังวลและสับสนในเรื่องการใช้ Tense และการใช้ประธานบุรุษที่ 1 และ 2 โดยกริยาที่ใช้จะต้องเติม s ซึ่งเป็นปัญหาในการเรียนรู้อัตโนมัติ
 


                                                                         ทฤษฎีการเรียนรู้ทางภาษา







                                                                                                                    
i = input (นักเรียน) = background knowledge
1 (ครู) = ตัวหลักในการออกแบบความเข้าใจ
gap (ช่องว่าง) = ความรู้ความสามารถของนักเรียน
Schema = language level
one sine fit all = การเหมารวม

กาล( Tense)
คำกริยาในประโยคภาษาอังกฤษ จะบอกการกระทำให้ทราบว่าเกิดขึ้นเมื่อไหร่ เกิดขึ้นแล้วหรือจะเกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นแล้วในอดีตและยังคงกำลังดำเนินอยู่ต่อในปัจจุบัน คำกริยาในประโยคภาษาไทยไม่บอกกาล ในบางกรณีอาจดูเวลาของการกระทำได้จากคำขยายกริยา เวลาแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยมักจะมีปัญหาเรื่องเวลา ประโยคในภาษาอังกฤษที่ใช้ต่างกัน อาจจะแปลเป็นภาษาไทยได้เหมือนกันคล้ายกับว่าไม่มีข้อแตกต่างกันเลย ทำให้คำแปลไม่ตรงกับข้อเท็จจริง
§ 
  • He lived in Nakhon Si Thammarat for a year.

              …………*__________________
                              S                                 P
                  เขาอยู่ที่นครศรีธรรมราชมา 1 ปี (Past Simple)

  • He has lived in Nakhon Si Thammarat for a year.
                 ********_______________
                S                                        P

              เขาอยู่ที่นครศรีธรรมราชมา 1ปี แล้ว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น